พระมหากษัตริย์ไทยกับพระไตรปิฎก ตอน ปฐมกษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
ราชอาณาจักรรัตนโกสินทร์สถาปนาขึ้นเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชปฐมบรมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี รัชกาลที่ ๑ ทรงย้ายราชธานีจากฝั่งกรุงธนบุรีมาฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และพระราชทานนามราชธานีแห่งใหม่ว่า “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร์ฯ”
พิธีหล่อหัวใจและชิ้นส่วนพระหัตถ์พระพุทธศรีสัพพัญญู
สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ เป็นประธานในพิธีหล่อหัวใจ และชิ้นส่วนพระหัตถ์ พระ
มโนชชาดก-ชาดกว่าด้วยคบคนชั่วไม่ได้ความสุขที่ยั่งยืน
สมัยนั้นมีสหายสองคนผู้เป็นชาวเมืองราชคฤห์ ในสองสหายนั้น คนหนึ่งบวชในสำนักของพระศาสดาอีกคนหนึ่งบวชในสำนักของพระเทวทัต สหายทั้งสองนั้นย่อมได้พบเห็นกันและกันอยู่เสมอ แม้ไปวิหารก็ยังได้พบเห็นกัน ภิกษุที่ออกบวชในสำนักพระศาสดาต้องปฏิบัติกิจสงฆ์ออกบิณฑบาต ปฏิบัติธรรมอยู่เป็นนิจ ส่วนภิกษุที่บวชในสำนักของพระเทวทัตนั้นไม่ต้องออกไปบิณฑบาต เพราะจะมีคนจัดสำรับไว้ให้ในโรงฉันเรียบร้อย
ผม...เคยคิดจะมาเผาวัดพระธรรมกาย
" ผม...เคยคิดจะมาเผาวัด เคยพูดกับนายพลระดับบิ๊กๆ ว่าทำไมพี่ปล่อยวัดพระธรรมกายให้โตมาถึงขนาดนี้ "
ทศชาติชาดก เรื่องเนมิราช ผู้ยิ่งด้วยอธิษฐานบารมี ตอนที่ 1
อธิษฐานบารมีนั้น คือการตั้งใจมั่นอย่างแน่วแน่ในการทำความดี อันมีผลสุดท้ายคือการกำจัดทุกข์ของตนเองและผู้อื่น แม้เป้าหมายจะยิ่งใหญ่แค่ไหน เมื่อได้ตั้งใจเอาไว้แล้วว่าจะทำ ก็ต้องทำให้สำเร็จให้จงได้ จะไม่เลิกรา และไม่ลดเป้าหมายลงอย่างเด็ดขาด
พิธีถวายดอกไม้จันทน์ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ
คณะสงฆ์และคณะศิษยานุศิษย์ วัดพระธรรมกาย พร้อมด้วยผู้แทน มูลนิธิธรรมกาย กว่า 1,000 รูป/คน เข้าร่วมพิธีถวายดอกไม้จันทน์ในงานพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ณ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี วันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2560
พิธีสวดพระอภิธรรมสมเด็จพระพุฒาจารย์
พระสงฆ์ และประชาชนเดินทางสักการะศพสมเด็จพระพุฒาจารย์(เกี่ยว อุปเสโณ)เนืองแน่น ขณะที่วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร เตรียมจัดพิมพ์หนังสือประวัติ และซีดีพระธรรมเทศนาแจกให้แก่ผู้เข้าร่วมงาน
กายนิพพินทชาดก ชาดกว่าด้วยความเบื่อหน่ายร่างกาย
รุ่งเข้าวันหนึ่ง ชายป่วยได้ตื่นเช้ากว่าปกติ เขาหันหน้าออกไปทางหน้าต่างเพื่อรับอากาศบริสุทธิ์ เขามองออกไปดูวิถีชีวิตของชาวบ้าน พลันสายตาก็เหลือบไปเห็นพระภิกษุสงฆ์ออกมาบิณฑบาต แล้วเขาก็เกิดความคิดอย่างหนึ่ง “ จริงสินะ ชีวิตมันไม่เที่ยงจริง ๆ สังขารย่อมร่วงโรยเป็นธรรมดา ถ้าเราหายจากโรคนี้เราจะบวช ”
ขัลลฏิยชาดกว่าด้วยความหลงผิดลุ่มหลงในอบายมุข
ขัลลฏิยชาดก เป็นเรื่องความหลงผิดของสตรีนางหนึ่ง ซึ่งนางหลงประกอบมิจฉาชีพและทำจนคุ้นชิน ความสำนึกในบาปบุญคุณโทษก็หมดสิ้นไป เมื่อได้มาในสิ่งที่ต้องการ ก็ยิ่งหลงทำผิด ทำบาปเพิ่มมากยิ่งขึ้น จนเป็นเหตให้นางไปเกิดเป็นนางเวมานิกเปรต
จุลปทุมชาดก ว่าด้วยการลงโทษหญิงชายทำชู้กัน
พระจุลปทุมกุมารได้ทรงช่วยเหลือโจรที่โดนตัดแขนตัดขาที่ถูกปล่อยลงแพล่องตามแม่น้ำ พระองค์ทรงเยียวยาให้อาหารดูแล จนหายบาดเจ็บในเวลาต่อมา การสร้างบุญของเจ้าชายครั้งนั้นเหมือนการเก็บงูเห่ามาเลี้ยง เมื่อเจ้าชายออกไปหาผลไม้ในป่า พระชายาสาวก็กระทำอนาจารร่วมกับโจรนั้นทุกครั้ง ความชั่วมักหอมหวานจนกลายเป็นสิ่งถูกต้องเสมอในความคิดของคนชั่ว